5 นักเขียนแห่งแดนปลาดิบ ที่นักอ่านวรรณกรรมญี่ปุ่นต้องรู้จัก…

5 นักเขียนแห่งแดนปลาดิบ ที่นักอ่านวรรณกรรมญี่ปุ่นต้องรู้จัก…

          ถ้าพูดถึงนักเขียนชาวญี่ปุ่น ชื่อแรกที่นักอ่านรุ่นปัจจุบันยกขึ้นมาได้ในทันที บางทีคงจะเป็น “ฮารูกิ มูราคามิ”  แน่นอน เราไม่เถียงเรื่องความสามารถด้านการประพันธ์ของเขา ทว่าโลกแห่งวรรณกรรมญี่ปุ่นยังคงกว้างเกินกว่านั้น           แต่ก่อนจะไปดูชื่อและผลงานของนักเขียนแต่ละคน สิ่งหนึ่งที่พึงทราบคือ โลกของวรรณกรรมญี่ปุ่น เปรียบเสมือนแอ่งน้ำขนาดใหญ่อันลึกล้ำ การดำดิ่งลงไปในภาษาและขนบธรรมเนียมแบบญี่ปุ่นบางครั้งก็ต้องใช้ความพยายามและอดทนอย่างมาก ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่สลับซับซ้อน เต็มไปด้วยการเปรียบเปรยและการตีความระหว่างบรรทัด…

5 นิยายโลกดิสโทเปียที่อ่านแล้วต้องตีอกผางๆ

5 นิยายโลกดิสโทเปียที่อ่านแล้วต้องตีอกผางๆ

          การจะทดสอบว่า ชีวิตคุณสตรองแค่ไหน ลองโยนตัวเองไปอยู่ในโลกดิสโทเปียดู เพราะโลกใบนี้เต็มไปด้วยความมืดมน จากผู้คน ธรรมชาติ เชื้อโรค ภัยพิบัติ และอื่นๆ แต่โลกดิสโทเปียเป็นโลกแห่งอนาคตที่ไม่มีใครหยั่งรู้ได้เลย มันจึงถูกสะท้อนออกมาด้วยรูปแบบจินตนาการหรือเรื่องราวในนิยายให้ได้อ่านกัน           หนังสือ 5 เล่มที่คัดสรรมา เป็นตัวแทนโลกดิสโทเปียโดยแท้…

5 เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ที่บอกว่า การอ่านสำคัญกับสุขภาพของคุณ

5 เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ที่บอกว่า การอ่านสำคัญกับสุขภาพของคุณ

          ตั้งแต่จำความได้ คุณพ่อ คุณแม่ หรือคุณครู ก็ให้เราอ่านหนังสือให้ได้อย่างน้อยวันละเล่ม ตอนเด็กอาจจะยังไม่รู้หรอกว่า ทำไมผู้ใหญ่ถึงโน้มน้าวให้อ่าน แต่พอเติบโตขึ้นถึงได้รู้ว่า การอ่านจำเป็นมากแค่ไหนในการสร้างองค์ความรู้ให้กับตัวเอง เพราะหนังสือนอกเหนือจากจะให้ข้อเท็จจริงและความบันเทิงที่ยอดเยี่ยมแล้ว มันยังมีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ที่บ่งบอกว่า การอ่านเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์สำหรับสุขภาพและร่างกายของคุณ มาดูกันสิว่า การอ่านสัมพันธ์กับสุขภาพด้วยเหตุผลทางวิทยาศาสตร์อย่างไร           1.…

9 คำถามล้วงลึก กับ 9 ปีที่กลับมาของ ‘รักเปื่อย’ เวอร์ชั่นใหม่ คงเดช จาตุรันต์รัศมี

9 คำถามล้วงลึก กับ 9 ปีที่กลับมาของ ‘รักเปื่อย’ เวอร์ชั่นใหม่ คงเดช จาตุรันต์รัศมี

          คุณคิดว่า 9 ปีเป็นช่วงเวลาที่นานหรือไม่ หลายคนอาจหลงลืมเรื่องราวระหว่างทางไปแล้ว แต่เรื่องราวใน ‘รักเปื่อย’ ที่ ‘คงเดช จาตุรันต์รัศมี’ เขียนเมื่อ 9 ปีที่แล้ว ยังคงตรางตรึงอยู่ในความทรงจำของเขาไม่รู้คลาย ด้วยความรักสุดคลาสสิกที่มีเรื่องร่างกายเป็นอุปสรรคระหว่างคนกับซอมบี้ ทำให้นิยายภาพเรื่องนี้อยู่ในใจนักอ่านหลายต่อหลายคน…

อีกด้านที่ไม่มีใครรู้… “เวียดนาม” สังคมของนักอ่านและนักเรียนรู้

อีกด้านที่ไม่มีใครรู้… “เวียดนาม” สังคมของนักอ่านและนักเรียนรู้

          หากคุณเคยมีโอกาสเดินทางไปประเทศเวียดนาม คงสัมผัสได้ถึงความขยันอดทน ความรักชาติของคนเวียดนาม ทั้งหมดเป็นเพียงบางส่วนที่คุณเคยได้เห็น เพราะยังมีอีกหนึ่งอุปนิสัยเด่นที่สำคัญคือ “ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน” ที่แสดงออกให้เห็นผ่าน “การอ่าน” นั่นเอง           ตามเมืองใหญ่ๆ ของประเทศเวียดนาม จะได้พบเจอแผงขายหนังสือข้างถนนที่ห้อมล้อมไปด้วยผู้คนที่กำลังเลือกซื้อหนังสือ หรือแม้แต่ย่านร้านหนังสือก็ตาม ก็จะคับคั่งไปด้วยผู้คนทุกเพศทุกวัยที่มาจับจ่ายและเลือกซื้อหนังสือ ภาพเหล่านี้ไม่ได้พบเห็นสักเท่าใดนักในเมืองไทย…

9 สัญญาณบ่งชี้ว่า คุณกำลังเสพติดการเขียนอย่างหนัก

9 สัญญาณบ่งชี้ว่า คุณกำลังเสพติดการเขียนอย่างหนัก

          คาเฟอีนคู่กับคนทำงานดึกฉันใด หน้ากระดาษเปล่าก็คู่กับนักเขียนฉันนั้น ใครที่รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัวอยากพิมพ์ตัวอักษร เพื่อไม่ให้หน้ากระดาษว่าง นั่นหมายความว่า คุณเริ่มเสพติดการเขียนเข้าให้แล้ว นักเขียนมืออาชีพหลายคนมีอาการดังกล่าว แต่อย่าเพิ่งวางใจไป นี่เป็นเพียงจุดสตาร์ทของอาการเสพติดเท่านั้น แล้วถ้าเลยจากจุดสตาร์ทไป อาการแบบไหนที่บ่งบอกว่า เราเสพติดการเขียนเข้าอย่างจัง มาเช็คลิสต์อาการเสพติดการเขียนทั้ง 9 ข้อนี้ไปพร้อมๆ…

5 เหตุผลที่ทำไมนิทานถึงดีต่อใจเด็กๆ ทุกคน

5 เหตุผลที่ทำไมนิทานถึงดีต่อใจเด็กๆ ทุกคน

“ถ้าต้องการให้บุตรหลานคุณเป็นคนฉลาด มอบหนังสือนิทานให้เขาอ่าน และถ้าคุณต้องการให้พวกเขาฉลาดขึ้นไปอีก มอบหนังสือนิทานเรื่องอื่นๆ ให้เขาอ่าน” Albert Einstein           วาทะเด็ดของนักวิทยาศาสตร์ก้องโลกอย่าง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ที่กล่าวถึงนิทานและเทพนิยาย โดยในปัจจุบัน ผู้ปกครองหลายท่านเริ่มให้บุตรหลานอ่านหนังสือประเภทนี้ตั้งแต่ยังเล็กๆ เพื่อปลูกฝังการอ่านและการเรียนรู้ตั้งแต่เยาว์วัย ซึ่งนั่นถือว่าเป็นการเตรียมตัวที่ดีมากๆ…

‘โตขึ้นจึงรู้ว่า…’ โลกสีเทาสุขปนเศร้าของ ‘คิดมาก’

‘โตขึ้นจึงรู้ว่า…’ โลกสีเทาสุขปนเศร้าของ ‘คิดมาก’

          ทุกข์และสุขเป็นของคู่กัน บางวันเราทุกข์แทบตาย แต่อีกวันกลับสุขน่าใจหาย สิ่งที่เข้ามาในชีวิตเหล่านี้ล้วนผ่านมาแล้วก็ผ่านไป ไม่มีอะไรจีรังยั่งยืน อย่าไปยึดมั่นถือมั่นเอามาใส่กาย แต่จงมีสติที่พร้อมจะรับมือตลอดเวลา           ศรศวัส มลสุวรรณ เจ้าของนามปากกา ‘คิดมาก’ เห็นถึงสัจธรรมข้อนี้ แล้วแปลงสัจธรรมเหล่านั้นออกมาเป็นหนังสือในชื่อ ‘โตขึ้นจึงรู้ว่า…’ ที่ได้รับการตอบรับจากนักอ่านอย่างถล่มทลาย…

“Bookface” ไอเดียคืนชีพหนังสือสุดแนว เพียงแค่ถ่ายภาพ!!

“Bookface” ไอเดียคืนชีพหนังสือสุดแนว เพียงแค่ถ่ายภาพ!!

          หากใครไม่ได้ชอบอ่านหนังสือจริงๆ อาจจะมองว่าหนังสือเป็นอะไรที่น่าเบื่อ บางคนพยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อให้ตัวเองรู้สึกสนุกทุกครั้งที่ได้หยิบหนังสือขึ้นมาอ่าน หรือถึงแม้ไม่ได้อ่าน ก็อยากจะมองแล้วรู้สึกเกิดแรงบันดาลใจ ไม่ใช่เห็นแล้วตาจะปิดเสียทุกครั้ง ต่อไปนี้…ปัญหาเหล่านั้นจะหมดไป เรามาทำให้หนังสือมีชีวิต มีเรื่องราว และมีตัวตน ด้วยการเล่น “Bookface” กันดีกว่า! หากใครไม่เคยได้ยินมาก่อน…

10 วิธีเอาตัวรอดจากหนังสือที่แสนจะน่าเบื่อ

10 วิธีเอาตัวรอดจากหนังสือที่แสนจะน่าเบื่อ

          การอ่านควรมอบประสบการณ์ที่สนุกสนานมากกว่าความจืดชืด โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นกิจวัตรที่ต้องทำทุกวันด้วยแล้ว ความสนุกในสิ่งที่อ่านยิ่งจำเป็นเข้าไปใหญ่ แต่มองในภาพความเป็นจริง อาจหลีกเหลี่ยงกับการต้องเจอหนังสือที่น่าเบื่อไม่ได้ อ่านแล้วเข้าใจยาก ไม่เข้าหัว หลุดโฟกัสไปเลยก็มี บางทีพานให้เราไม่อยากอ่านหนังสือไปโดยปริยาย           เราเลยจะขอนำเสนอวิธีพิชิตและเอาตัวรอดจากหนังสือที่น่าเบื่อเหล่านั้น ไม่แน่ว่าวิธีดังกล่าวอาจจะทำให้คุณจดจ่อและมีสมาธิมากขึ้นกับหนังสือที่คุณเบื่ออยู่ก็เป็นได้           เคล็ดลับ 1 : มองหารูปแบบที่น่าสนใจ…